Background



ประวัติความเป็นมา
ประวัติความเป็นมา
30 พฤศจิกายน 544

0


แผนที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง

 

หมายเหตุให้แสดง         - อาณาเขตของตำบล             

                                    - การแบ่งเขตหมู่บ้าน

                                    - ลักษณะภูมิประเทศ

                                    - สถานที่สำคัญ เช่น รพ.สต. โรงเรียน และวัด เป็นต้น

 

1.1  ประวัติโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง ได้ดำเนินการสร้างโดยงบประมาณของกระทรวงสาธารณสุข เมื่อปี พ.ศ.2517 ตั้งอยู่เลขที่ 58 หมู่ที่ 6 ตำบลพะแสง อำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี 
โดยนายเริ่ม กล่อมเจริญ ได้บริจาคที่ดิน จำนวน 2 ไร่ 50 ตารางวา ต่อมาเมื่อ   ปีงบประมาณ 2537
ได้งบประมาณก่อสร้างทดแทน โดยก่อสร้างตามแบบแปลนเลขที่ 8170/36
กองแบบแผน สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้น 1,558,000.- บาท ก่อสร้างเสร็จ วันที่ 27 กันยายน 2538 และยกฐานะเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมื่อ ปีงบประมาณ 2554

 

1.2 ทำเลที่ตั้ง

          โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง  ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของอำเภอบ้านตาขุน
จังหวัดสุราษฎร์ธานี  ระยะห่างจากตัวอำเภอประมาณ 10 กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัด 85 กิโลเมตร 

       ขนาด

เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสงมีพื้นที่ประมาณ 35 ตารางกิโลเมตรรับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน หมู่ที่ 4,5,6,7

อาณาเขต

ทิศเหนือ          จด     หมู่ที่ 1 ตำบลเขาพัง

ทิศตะวันออก    จด     หมู่ที่ 3,9 ตำบลพะแสง(เขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านปากน้ำ)

ทิศตะวันตก      จด     อุทยานแห่งชาติเขาสก

ทิศใต้              จด     คลองบางครกหมู่ที่ 1 ตำบลพังกาญจน์  อำเภอพนม

      ภูมิประเทศ

-  ทิศตะวันออกเป็นที่ราบลุ่ม ราษฎรประกอบอาชีพทำสวนผลไม้และพืชผักระยะสั้น

-  ทิศตะวันตกและใต้ ราษฎรประกอบอาชีพทำสวนยางพาราและสวนปาล์ม

         ภูมิอากาศ

เป็นแบบร้อนชื้น  มี 2 ฤดูคือ ฤดูร้อนและฤดู

 

1.3 การปกครอง

1.3.1 การปกครองส่วนท้องถิ่น

มีองค์การบริหารส่วนตำบล 1 แห่งมีนายถาวร  วิเศษ
เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ดูแลพื้นที่ 9 หมู่บ้าน  ส่วนในเขตรับผิดชอบของ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสงมีทั้งหมด 4 หมู่บ้านและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลบ้านปากน้ำมี 5 หมู่บ้าน มีจำนวนสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล 18 คน

 

ตารางที่ 1 การแบ่งเขตการปกครองของตำบลพะแสง

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนหลังคาเรือน

ชื่อผู้นำหมู่บ้าน

4

บ้านบางน้ำเย็น

86

นายวิโรจน์  นิลศิริ   

5

บ้านแสงเหนือ

142

นายโกศล  ศรีนิล

6

บ้านปากซวดเหนือ

132

นายพนัส  ทวี

8

บ้านแสงใต้

50

นายสมบูรณ์  แช่มไล่

 

 

1.4 ทรัพยากรธรรมชาติ

มีคลองแสงซึ่งเป็นต้นกำเนิดคลองพุมดวงไหลผ่านจึงแบ่งพื้นที่รับผิดชอบของ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสงออกเป็น 2 ส่วน คือ หมู่ที่ 5,6 กับหมู่ที่ 4,8 มีป่าไม้ซึ่งเป็นเขตอุทยานแห่งชาติเขาสกอยู่ติดต่อกับอำเภอพนม

 

1.5 โครงสร้างพื้นฐาน

-  การคมนาคมในเขตรับผิดชอบ มีถนนลาดยาง จำนวน 2 สาย  ถนนคอนกรีต จำนวน  2 สายถนนลูกรัง จำนวน  4 สาย  มีสะพานข้ามคลองแสง จำนวน  1 แห่งเชื่อมระหว่างหมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 5 ประชาชน สามารถใช้สัญจรได้ตลอดทุกฤดูกาล

-  การไฟฟ้าประชาชนมีไฟฟ้าใช้ทุกหลังคาเรือน

 

1.6 เศรษฐกิจ

           รายได้     ประชากรรายได้เฉลี่ยของประชากร 63,000 บาท/คน/ปี

           อาชีพ     ส่วนใหญ่อาชีพเกษตรกรรมทำสวนยางพารา  สวนปาล์ม สวนผลไม้ เพาะเห็ด

           การท่องเที่ยว   มีแหล่งท่องเที่ยวได้แก่ จุดชมวิวเขาตอเต่า

 

1.7 สถานะทางสังคม

การศึกษา

ตารางที่ 2 จำนวนนักเรียนและสถานศึกษา  ปีการศึกษา 2562

ระดับการศึกษา

 

โรงเรียน

ในระบบ

ปฐมวัย (อนุบาล)

ประถมศึกษา

ห้อง

เรียน

นร.

ครู

ห้อง

เรียน

นร.

ครู

วัดพะแสง

3

27

2

6

67

5

รวม

3

27

2

6

67

5

 

มีโรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 1 โรง ได้แก่ โรงเรียนวัดพะแสง ซึ่งมีเด็กนักเรียนจำนวน 94 คน มีครู จำนวน 11 คน เป็นข้าราชการ จำนวน 7 คน และครูอัตราจ้าง จำนวน 3 คน
และพนักงานราชการ 1 คน

 

ศาสนา

มีวัด จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ วัดพะแสง ซึ่งมีพระสงฆ์ประจำพรรษา จำนวน 3 รูปประชาชนส่วนใหญ่
นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99.95 และนับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 0.05

 

1.8 ประชากร (ณ วัน ที่ 26  กันยายน  2562)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสงรับผิดชอบ  จำนวน  410 หลังคาเรือน

ประชากรรวมทั้งหมด               จำนวน           1,622            คน

ประชากรชาย                       จำนวน              800           คน

ประชากรหญิง                      จำนวน              882           คน

 

ตารางที่ 3 แสดงจำนวนหลังคาเรือนและประชากรจำแนกรายหมู่บ้าน ปี 2562

หมู่ที่/ชื่อบ้าน

จำนวนหลังคาเรือน

ประชากรจาก

ทะเบียนราษฎร์

ประชากร

จากการสำรวจ

ทะเบียนราษฎร์

สำรวจ

ชาย

หญิง

รวม

ชาย

หญิง

รวม

หมู่ 4 บ้านบางน้ำเย็น

86

92

178

181

359

139

145

284

หมู่ 5 บ้านแสงเหนือ

142

143

285

296

581

243

260

503

หมู่ 6 บ้านปากซวดเหนือ

132

134

250

257

507

194

206

400

หมู่ 8 บ้านแสงใต้

50

53

87

88

175

72

73

145

รวม

410

422

800

822

1,622

648

684

1,332

 

ที่มา : ข้อมูลทะเบียนราษฎร์จากสำนักทะเบียนราษฎร์อำเภอบ้านตาขุน(ณ วันที่ 26 กันยายน  2562)

       : ข้อมูลสำรวจได้จากการสำรวจของ อสม.(ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2562)

 

ตารางที่ 4 จำนวนประชากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง แยกตามกลุ่มอายุ

กลุ่มอายุ(ปี)

เพศ

รวม

ชาย(คน)

ร้อยละ

หญิง(คน)

ร้อยละ

จำนวน(คน)

ร้อยละ

0-4

53

6.63

37

4.50

90

5.55

5-9

51

6.38

53

6.45

104

6.41

10-14

62

7.75

58

7.06

120

7.40

15-19

51

6.38

58

7.06

109

6.72

20-24

56

7.00

49

5.96

105

6.47

25-29

61

7.63

54

6.57

115

7.09

30-34

59

7.38

57

6.93

116

7.15

35-39

74

9.25

70

8.52

144

8.88

40-44

79

9.88

72

8.76

151

9.31

45-49

62

7.75

65

7.91

127

7.83

50-54

59

7.38

65

7.91

124

7.64

55-59

49

6.13

57

6.93

106

6.54

60-64

32

4.00

26

3.16

58

3.58

65-69

18

2.25

26

3.16

44

2.71

70-74

14

1.75

23

2.80

37

2.28

75-79

9

1.13

11

1.34

20

1.23

80-84

2

0.25

20

2.43

22

1.36

85-89

7

0.88

15

1.82

22

1.36

90-94

2

0.25

5

0.61

7

0.43

95-99

0

0

1

0.12

1

0.06

100 ปีขึ้นไป

0

0

0

0

0

0

รวม

800

100

882

100

1,622

100

 

ที่มา : ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2562

 

 

ปิรามิดประชากรของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง

 

จากปิรามิดประชากรในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง  พบว่าเป็นแบบเสถียร (stable pyramid) ที่มีรูปแบบคล้ายกับระฆังคว่ำหรือมีโครงสร้างประชากรคงที่ ซึ่งแสดงถึงรูปแบบของอัตราการเกิด และอัตราการตายของประชากรที่ไม่เปลี่ยนแปลง ประชาชนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม
อายุ  40 - 44 ปีร้อยละ 9.31 รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 35 – 39 ปีร้อยละ 8.88 ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลประชากรของอำเภอบ้านตาขุนและของจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มนี้ ซึ่งเป็นวัยทำงาน สำหรับในกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ในขณะนี้สัดส่วนของผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปัจจุบัน
สถานบริการสุขภาพต้องรับภาระในการดูแลด้านสุขภาพประชากรกลุ่มนี่ โดยเฉพาะโรคเรื้อรังต่างๆ
ที่มีอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มมากขึ้นในเขตรับผิดชอบของรพ.สต.พะแสง

 

1.9 ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข

 สถานบริการสาธารณสุข

1) สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ

1.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง           1        แห่ง

บุคลากรสาธารณสุข

                1.ผู้อำนวยการรพ.สต.พะแสง                 จำนวน     1   คน

  2. พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ                 จำนวน     1  คน

  3.เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฎิบัติงาน       จำนวน     1  คน 

                อัตราบุคลากรสาธารณสุขต่อหลังคาเรือน                      1 : 137

                อัตราบุคลากรสาธารณสุขต่อประชากร                           1 : 541

 

ตารางที่ 5 ข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง

ลำดับที่

ชื่อ-สกุล

ตำแหน่ง

วุฒิการศึกษา

อายุราชการ

1.

 

นายอนันต์  สุขจันทร์

เจ้าพนักงานสาธารณสุขอาวุโส

บริหารธุรกิจบัณฑิต

(การจัดการทั่วไป)

40 ปี

2.

 

นางธิดารัตน์  พึ่งชาติ

พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

พยาบาลศาสตร์บัณฑิต

16 ปี

3.

 

นางสาวอภิรดี  งามประดิษฐ์

เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฎิบัติงาน

วิทยาศาสตร์บัณฑิต

(สาธารณสุขชุมชน)

8  ปี

 

 

ตารางที่ ข้อมูลการรับผิดชอบงานสาธารณสุขในชุมชนของบุคลากรสาธารณสุขจำแนกรายบุคคล

ลำดับที่

ชื่อ-สกุล

พื้นที่รับผิดชอบ

จำนวนหลังคาเรือน

จำนวนประชากร

1.

 

นายอนันต์  สุขจันทร์

     หมู่ที่ 6,8

132,50

507,175

2.

 

นางธิดารัตน์  พึ่งชาติ

     หมู่ที่ 5

142

581

3.

 

น.ส.อภิรดี งามประดิษฐ์

     หมู่ที่ 4

86

359

 

อาสาสมัครสาธารณสุข  จำนวน 50 คน

ตารางที่ 7 ข้อมูลการรับผิดชอบงานสาธารณสุขในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข

หมู่

 

จำนวนหลังคาเรือน

 

อสม.

ความครอบคลุม

เป้าหมาย 1 : 15

ทะเบียนราษฎร์

สำรวจ

ปฏิบัติงานจริง

รับค่า

ป่วยการ

ทะเบียนราษฎร์

สำรวจ

หมู่ 4 บ้านบางน้ำเย็น

86

92

10

10

1 : 9

1 : 9

หมู่ 5 บ้านแสงเหนือ

142

143

15

15

1 : 10

1 : 10

หมู่ 6 บ้านปากซวดเหนือ

132

134

20

19

1 : 7

1 : 7

หมู่ 8 บ้านแสงใต้

50

53

5

5

1 : 10

1 : 11

รวม

410

422

50

49

1 : 9

1 : 9

 

จากตารางที่ 7 พบว่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง มีอสม.ที่ปฏิบัติงานในชุมชน
ทั้งหมด 50 คนและได้รับเงินค่าป่วยการ 49  คน  พบว่าถ้าพิจารณาภาพรวมตามหลังคาเรือนทะเบียนราษฎร์ มีอัตรา 1 คนต่อ 9 หลังคาเรือนซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด แต่ถ้าพิจารณาหลังคาเรือนจากการสำรวจที่มีอยู่จริงพบว่ามีความครอบคลุมในภาพรวม อัตรา 1 คนต่อ 9 หลังคาเรือนซึ่งครอบคลุมตามเกณฑ์
ที่กำหนด

 

ข้อมูลสถานะสุขภาพ

สถิติชีพ

ตารางที่ 8 แสดงจำนวนและอัตราการเกิด - อัตราตาย ของ รพ.สต.พะแสง  พ.ศ. 2558 – 25561

 

รายการ

พ.ศ.2559

(ประชากรกลางปี

1,594คน)

พ.ศ.2560

(ประชากรกลางปี

1,618คน)

พ.ศ.2561

(ประชากรกลางปี

1,617คน)

พ.ศ.2562

(ประชากรกลางปี

1,606คน)

จำนวน

(คน)

อัตรา

จำนวน

(คน)

อัตรา

จำนวน

(คน)

อัตรา

จำนวน

(คน)

อัตรา

1.เกิด (ต่อประชากร  1,000 คน )

13

8.15

12

7.41

14

8.66

15

9.34

2.ตาย (ต่อประชากร  1,000 คน )

8

5.20

16

9.88

9

5.56

10

6.23

3.อัตราเพิ่มประชากรตามธรรมชาติ(ร้อยละ)    

5

0.31

-4

-0.24

5

0.31

5

3.11

 

ที่มา  :  ทะเบียนราษฎร์ (ฐานข้อมูล  JHCIS)  ณ วันที่ 30  กันยายน 2562

 

จากตารางที่ 8 พบว่า ในปี พ.ศ. 2562 มีอัตราเกิดสูงสุด เท่ากับ 9.34 ต่อประชากร 1,000 คน และ ปี พ.ศ. 2560 มีอัตราเกิดต่ำสุด เท่ากับ 7.41 ต่อประชากร 1,000 คน ส่วนอัตราตายพบว่า
ในปี 2560 มีอัตราตายสูงสุด เท่ากับ 9.88 ต่อประชากร 1,000  คน ในปี 2558 มีอัตราตายต่ำสุด เท่ากับ 5.20 ต่อประชากร 1,000  คน ในปี พ.ศ.2562 มีอัตราเพิ่มประชากรตามธรรมชาติสูงสุดในปี เท่ากับ ร้อยละ  3.11 และใน  ปี พ.ศ. 2560 มีอัตราเพิ่มประชากรตามธรรมชาติต่ำสุด 

 

สาเหตุการป่วย

ตารางที่ แสดงผู้ป่วยจำแนกตามกลุ่มสาเหตุ ( 21 กลุ่มโรค ) ที่สำคัญ 10 อันดับแรกของ รพ.สต.พะแสง พ.ศ. 2559 – 2562 (อัตราต่อประชากร  1,000  คน)

อันดับที่

สาเหตุการป่วย

.ศ.2559

(ประชากรกลางปี

1,594คน)

พ.ศ.2560

(ประชากรกลางปี

1,618คน)

พ.ศ.2561

(ประชากรกลางปี

1,617คน)

พ.ศ.2562

(ประชากรกลางปี

1,606คน)

จำนวน(คน)

อัตรา

จำนวน(คน)

อัตรา

จำนวน(คน)

อัตรา

จำนวน(คน)

อัตรา

1

โรคระบบหายใจ

307

192.60

297

183.55

271

167.59

211

131.38

2

โรคระบบย่อยอาหาร

303

190.09

356

220.02

188

116.26

267

166.25

3

โรคผิวหนัง

41

25.72

44

27.20

63

38.96

59

36.74

4

อาการแสดงและสิ่งผิดปกติ

719

451.07

497

307.16

569

351.89

770

479.45

5

โรคระบบกล้ามเนื้อ

41

25.72

1,297

801.60

1,502

928.88

1,330

828.14

6

สาเหตุจากภายนอกอื่น ๆ

0

0

9

5.56

8

4.95

5

3.11

7

โรคตา

194

121.71

175

108.15

27

16.70

25

15.57

8

โรคติดเชื้อและปรสิต

15

9.41

8

4.94

13

8.04

3

1.87

9

โรคระบบไหลเวียนเลือด

56

35.13

91

56.24

189

116.88

77

47.95

10

โรคระบบต่อมไร้ท่อ

12

7.53

33

20.40

73

45.14

45

28.02

รวม

1,688

1,058.97

2,807

1,734.85

2,903

1,795.30

2,792

1,738.4

ที่มา  :  รายงาน  504 ของ รพ.สต.พะแสง ปี พ.ศ. 2559 – 2562 ณ. วันที่ 30 กันยายน 2562

           

จากตารางที่ 9 พบว่าสาเหตุการป่วยของผู้รับบริการที่รพ.สต.พะแสง ช่วง 3 ปี (พ.ศ.2559 - 2562)   มีสาเหตุการป่วยจากโรคระบบกล้ามเนื้อมากที่สุด
 มีอัตราเท่ากับ 25.72 , 801.60,928.88และ 824.14 ต่อประชากร 1,000 คน     สาเหตุการป่วยลำดับรองลงมาได้แก่  อาการแสดงและสิ่งผิดปกติ
อัตราเท่ากับ 451.07 , 307.16,351.89 และ 479.45 ต่อประชากร  1,000 คน   สาเหตุการป่วยน้อยสุดคือ สาเหตุภายนอกอื่นๆ

 

สาเหตุการตาย          

ตารางที่ 10  สาเหตุการตายที่สำคัญของ รพ.สต.พะแสง  พ.ศ. 2559 – 2562  (อัตรา ต่อ ประชากร 1,000 คน)

สาเหตุการตาย

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2560

พ.ศ.2561

พ.ศ.2562

(ประชากรกลางปี

1,594คน)

(ประชากรกลางปี

1,618คน)

(ประชากรกลางปี

1,617คน)

(ประชากรกลางปี

1,606คน)

จำนวน

อัตรา

จำนวน

อัตรา

จำนวน

อัตรา

จำนวน

อัตรา

1. โรคระบบไหลเวียนเลือด

2

1.25

1

0.61

2

1.24

1

0.62

2. อุบัติเหตุทางถนน

0

0.00

5

8.09

2

1.24

0

0

3. เนื้องอก(รวมมะเร็ง)

1

0.63

4

2.47

2

1.24

3

1.87

4. โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ

0

0.00

0

0

0

0

0

0

5. โรคระบบหายใจ

1

0.63

0

0

0

0

1

0.62

6. โรคติดเชื้อและปรสิต

0

0.00

0

0

1

0.62

0

0

7. ถูกฆาตกรรม

0

0

1

0.61

0

0

0

0

8. ฆ่าตัวตาย

0

0

1

0.61

0

0

0

0

9. ไม่ระบุสาเหตุ

- ชราภาพ

 

4

 

2.50

4

2.47

2

1.24

5

3.11

รวม

8

5.02

16

9.88

9

5.56

10

6.22

 
ที่มา :  ฐานข้อมูลการตาย (JHCIS) ปี พ.ศ.  2559 – 2562)  ณ. วันที่ 30 กันยายน 2562

 

จากตารางที่ 10 พบว่า  สาเหตุการตายของประชากรในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.พะแสง  มีสาเหตุการตายสูงสุดอยู่ในปี 2560   อัตราเท่ากับ 9.88 
ต่อประชากร  1,000  คน  และมีอัตราการตายรวมทั้ง 3 ปี สูงสุดด้วยโรคชรา รองลงมาคือเนื้องอก(รวมมะเร็ง)

 

การป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

ตารางที่ 11 จำนวนและอัตราการป่วย-ตาย ด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก พ.ศ. 2559 – 2562 (อัตราต่อประชากร  1,000 คน)

 

โรค

.ศ. 2559

(ประชากรกลางปี 1,594 คน)

.ศ. 2560

(ประชากรกลางปี1,618 คน)

พ.ศ.2561

(ประชากรกลางปี 1,617คน)

พ.ศ.2562

(ประชากรกลางปี 1,606คน)

ป่วย

ตาย

ป่วย

ตาย

ป่วย

ตาย

ป่วย

ตาย

จำนวน

อัตรา

จำนวน

จำนวน

อัตรา

จำนวน

อัตรา

อัตรา

จำนวน

อัตรา

จำนวน

อัตรา

จำนวน

อัตรา

จำนวน

อัตรา

1.อุจาระร่วง

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

2.โรคไข้เลือดออก

2

1.25

0

0

0

0

0

0

3

1.85

0

0

5

3.11

0

0

3. มาลาเรีย

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

4. ปอดบวม

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

5.โรคเลปโตสไปโรซีส

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

2

1.24

0

0

6.วัณโรคปอด

0

0

0

0

1

0.61

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

7.ชิกุนคุนย่า

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

1

0.62

0

0

8.สครับไทพัต

0

0

0

0

0

0

0

0

1

0.62

1

0.62

0

0

0

0

9.โรคมือเท้าปาก

1

0.63

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

2

1.24

0

0

10.ไข้หวัดใหญ่

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

2

1.24

0

0

            รวม

3

1.88

0

0

1

0.61

0

0

4

2.47

1

0.62

12

7.47

0

0

 

ที่มา  :  บัตรรายงานโรค (รง. 506 และ 507  พ.ศ. 2559– 2562) ณ. วันที่ 30 กันยายน 2562

 

จากตารางที่ 11 พบว่าอัตราป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของประชากรในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.พะแสง ช่วง 3 ปี (ปี 2558 – 2561)

มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด  ซึ่งในช่วง  3 ปี (ปี  2559 – 2561) ไม่มีคนตายด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

 

สาเหตุการป่วยเนื่องจากอุบัติเหตุ    

ตารางที่  12 แสดงสาเหตุการป่วยเนื่องจากอุบัติเหตุ  ของ รพ.สต.พะแสง  พ.ศ. 2559 – 2562  (อัตราต่อประชากร 1,000 คน)

สาเหตุของการบาดเจ็บ

พ.ศ.2559

พ.ศ.2560

พ.ศ.2561

พ.ศ.2562

(ประชากรกลางปี 1,594คน)

(ประชากรกลางปี1,618 คน)

(ประชากรกลางปี 1,617คน)

(ประชากรกลางปี 1,606คน)

จำนวน(คน)

อัตรา

จำนวน(คน)

อัตรา

จำนวน(คน)

อัตรา

จำนวน(คน)

อัตรา

1.  อุบัติเหตุการขนส่ง

 

 

 

 

 

 

 

 

    1.1 จากจักรยานยนต์

0

0.00

4

2.47

0

0.00

0

0.00

    1.2 จากยานยนต์อื่นๆ

0

0.00

0

0.00

0

0.00

4

2.49

2. อุบัติเหตุอื่นๆ

 

 

 

 

 

 

 

 

     2.1 อุบัติเหตุพลัด ตก หรือหกล้ม

0

0.00

0

0.00

0

0.00

0

0.00

     2.2 อุบัติเหตุสัมผัสกับแรงเชิงกลของวัตถุสิ่งของ

0

0.00

1

0.61

4

2.47

3

1.86

     2.3 อุบัติเหตุสัมผัสกับแรงเชิงกลของสัตว์/คน

0

0.00

1

0.61

2

1.24

1

0.62

     2.4 อุบัติเหตุสัมผัสกระแสไฟฟ้า รังสีและอุณหภูมิ

0

0.00

0

0.00

0

0.00

0

0.00

     2.5 สัมผัส ควัน  ไฟ  และเปลวไฟ

0

0.00

0

0.00

0

0.00

0

0.00

     2.6 สัมผัสความร้อนและของร้อน

0

0.00

0

0.00

0

0.00

0

0.00

     2.7 สัมผัสพิษจากสัตว์หรือพืช

0

0.00

3

1.85

0

0.00

2

1.24

     2.8 สัมผัสสิ่งที่ไม่ทราบแน่ชัด

0

0.00

0

0.00

0

0.00

0

0.00

3.  ทำร้ายตัวเองด้วยวิธีต่างๆ

0

0.00

0

0.00

0

0.00

0

0.00

4.  ถูกทำร้ายด้วยวิธีต่างๆ

0

0.00

0

0.00

0

0.00

0

0.00

5.  บาดเจ็บโดยไม่ทราบเจตนา

0

0.00

0

0.00

0

0.00

0

0.00

รวม

0

0.00

9

5.56

6

3.71

10

6.22

 
ที่มา  : แบบรายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุและเหตุอื่นๆ   ( ปี พ.ศ. 2559 –2562) ณ. วันที่ 30 กันยายน 2562
 

จากตารางที่ 12 พบว่า  ในปี พ.ศ. 2562 มีผู้มารับบริการสูงสุด อัตราเท่ากับ 6.22 อุบัติเหตุสูงสุดได้แก่อุบัติเหตุขนส่งจากจักรยานยนต์  อัตราเท่ากับ 2.49  ต่อประชากร  1,000 คน รองลงมาได้แก่ อุบัติเหตุสัมผัสกับแรงเชิงกลของวัตถุสิ่งของ อัตราเท่ากับ 1.86 ต่อประชากร  1,000 คน 

 

ข้อมูลสถิติการให้บริการ

ตารางที่ 13 จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการ ของ รพ.สต.พะแสง ปีงบประมาณ 2559–2562

จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการ

ปีงบประมาณ2559

ปีงบประมาณ
2560

ปีงบประมาณ
2561

ปีงบประมาณ
2562

1.  ผู้รับบริการ(คน/ครั้ง)

1,005/3,690

1,148/4,808

1,164/4,305

1,430/5,977

2.  ผู้ป่วยนอก (คน/ครั้ง)

461/809

392/933

256/1,177

490/2,225

 

จากตารางที่ 13 พบว่าจำนวนผู้มารับบริการในรพ.สต.พะแสง ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี เนื่องจากได้มีการพัฒนาคุณภาพการให้บริการส่งผลต่อผู้รับบริการมีความพึงพอใจและมาใช้บริการสถานบริการสาธารณสุขของรัฐมากขึ้น ส่วนผู้ป่วยนอกมีแนวโน้มมารับบริการเพิ่มขึ้นเช่นกัน เนื่องจากสถานบริการฯมีการดำเนินงานให้บริการโรคเรื้อรัง การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกและการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเชิงรุกในชุมชน โดยเน้นให้ประชาชนมีการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยที่ไม่พึงประสงค์ด้วยโรคที่สามารถป้องกันและให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองด้านสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับสภาวะการณ์ในปัจจุบัน ส่งผลให้ประชาชนเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

 

การเข้าถึงหลักประกันสุขภาพ

ตารางที่ 14 ความครอบคลุมสิทธิหลักประกันสุขภาพ รพ.สต.พะแสง  2562

ประเภทสิทธิ

จำนวน

บัตรที่ขึ้น

ทะเบียน

อัตราความ

ครอบคลุม

(เป้าหมาย:

ร้อยละ 99.50)

   UC

   SSS

   OFC

Uc-Other

  Other

   LGO

 สิทธิว่าง

1,326

167

86

89

4

13

-

1,685

100

ที่มา : งานหลักประกันสุขภาพ ร.พ.บ้านตาขุน

          อัตราความครอบคลุมของผู้มีหลักประกันสุขภาพในระบบหลักประกันสุขภาพของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง ได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์เชิงรุกและตรวจสอบ ติดตาม ผู้มีสิทธิว่างให้มาขึ้นทะเบียนที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพะแสง